Soil Tester 4 ใน 1
เครื่องวัดดินจากUSA
❤️พีเอชมิเตอร์ที่ดีที่สุดสำหรับวันนี้ในเมืองไทย
❤️ใช้งานสุดคุ้ม ตัวเดียวได้ถึง 4 ฟังก์ชั่น ครบทุกการใช้งานใน1ตัว
👉วัดพีเอช
👉วัดค่าความสมบูรณ์ของดิน
👉วัดความชื้น
👉วัดปริมาณแสง
🎈ใช้งานง่ายแค่โยกสวิทช์ ไปมาแล้วอ่านค่า
🎈ไม่ต้องใส่ถ่านให้ยุ่งยาก
❤️ใช้งานสุดคุ้ม ตัวเดียวได้ถึง 4 ฟังก์ชั่น ครบทุกการใช้งานใน1ตัว
👉วัดพีเอช
👉วัดค่าความสมบูรณ์ของดิน
👉วัดความชื้น
👉วัดปริมาณแสง
🎈ใช้งานง่ายแค่โยกสวิทช์ ไปมาแล้วอ่านค่า
🎈ไม่ต้องใส่ถ่านให้ยุ่งยาก
📲ราคา 1200 บาทรวมส่งเก็บเงินปลายทาง
📲เพียงแจ้งชื่อที่อยู่เบอร์โทร เท่านั้น
🎈สินค้าผลิตในประเทศจีนมาตรฐานUSA(สินค้านำเข้าจากUSA)
📲เพียงแจ้งชื่อที่อยู่เบอร์โทร เท่านั้น
🎈สินค้าผลิตในประเทศจีนมาตรฐานUSA(สินค้านำเข้าจากUSA)
📲โทร 0809898770 📲ไลน์ kittiyaporn1993
👉ตัวอย่างการใช้งาน
.เรียกว่า ครบเครื่องเรื่อดิน กันในตัวเดียวเลย
.
ไม่ต้องใช้ถ่าน ไม่ยุ่งยากด้านการใช้งาน
แค่โยก สวิช ไปให้ถูกคำแหน่ง ว่าจะวัดค่าอะไร
⏹อ่านเถอะ ถ้ารักจะทำเกษตร
คำถามก็มีเข้ามาเกือบทุกวัน
คำตอบ มันก็วนซ้ำมาซ้ำไปเช่นเดิม
.
⏹กล้วยไม่โต กล้วยไม่ใหญ่ ..ทำไง
กล้วยเป็นโรค..แก้ยังไง
.
แต่ก็ไม่มีข้อมูลประกอบคำถาม พอถามกลับไปก็ไม่รู้อะไรสักอย่าง
.
กล้วยปลูกมา 5-6เดือนยังไม่โตไปไหน มันต้องดูแค่ 3 อย่าง
.
⏹พิเอชก่อน...อินทรีย์วัตถุ..และความชื้นในดิน..ปัจจัยมันมีแค่ 3 ตัวเท่านี้
.
⏹กล้วยและพืชทุกชนิด จะเจริญเติบโตได้ดี พีเอช ต้องอยู๋ระหว่าง 5.5-7.ไม่มีหลุดไปจากนี้ แต่ถ้าจะให้ระบุต้องไปดูว่าเป็นพืช อะไร แต่ค่านี้ รากพืชสามารถดูดซับ สารอาหารในดินส่งไปยังลำต้น ดอก ใบได้ อันนี้ภาาชาวบ้านที่พอเข้าใจได้
.
⏹ถ้าค่าพีเอชที่วัดได้ ต่ำมากกว่านี้ นั่นแสดงว่าดินเป็นกรด รากพืชเอง ก็ไม่สามารถที่จะดูดซับสารอาหารได้ แม้ว่าจะใส่ปุ๋ยเข้าไป มันก็ไม่มีประโยชน์ เพราะสภาพมันไม่เหมาะสม
.
ในทางตรงกันข้าม ดินเป็นกรด กลับปลดปล่อยธาตุโลหะบางชนิดออกมา ถ้ามีปริมาณมาก กลับทำให้พืช ใบเหลือง และตายได้
.
⏹นี่คือสาเหตุที่ดินเป็นกรดพืชไม่โต ใบเหลือง
และ. ในสภาพที่ดินเป็นกรด นั่นคือสภาพที่เหมาะสมที่สุดที่เชื้อรา เชื้อแบตทีเรีย สามารถเจริญเติบโตได้ดีที่สุด..นั่นคือที่มาของโรคพืชต่างๆ มากมาย ไปซื้อยามาฉีด ก็แก้ไปอาทิตย์เดียวก็กลับมาเป็นใหม่ เพราะเป็นการแก้ที่ปลายเหตุ ส่วนต้นเหตุคือดินเป็นกรด ยังไม่ได้รับการแก้ใข นั่นเอง
.
⏹อย่างที่สองคือ อินทรีย์วัตถุในดินหรือความอุดมสมบูรณ์ของดิน หรืออาหารในดิน..ที่จะต้องวัด คนเรากินน้ำเปล่าแล้วโตเองไดเ้หรือไม่..พืชก็เช่นกัน เอาแต่รดน้ำ แต่ไม่มีอาหารให้ ยังไงมันก็ไม่โต..พืชกินอาหารผ่านทางรากที่อยู่ในดิน
.
⏹ฉนั้น ในดินต้องมีอาหารสำหรับพืชอย่างเพียงพอตลอดระยะเวลาของการดำรงชีวิตอยู่ของพิช..นั่นคือในดินต้องมีอินทรีย์วัตถุ มีฮิวมัสมีอาหาร ที่มากพอสำหรับพืช...นั่นคือค่าที่สองที่เราต้องวัด ต้องดูแล ในเรื่องของดินที่เราทำการเพาะปลูกพืชทุกชนิด
⏹ดินมีปริมาณสารอาหารเพียงพอ เหมาะสม
ค่าสารอาหารในดินโดยเฉลี่ย
ค่าไนโตรเจน (N) 50 - 200 ppm
ค่าฟอสฟอรัส (P) 4 - 14 ppm
ค่าโพแทสเซียม (K) 50 - 200 ppm
รวมถึงธาตอาหารรองและจุลธาตุที่หาได้จากฮิวมัส- อมิโน-และอินทรีย์วัตถุต่างๆ
.
⏹อย่างที่3 คือน้ำ หรือความชื้นในดิน เพราะน้ำคือสื่อ
.
สื่อที่จะเป็นตัวนำพา อาหารต่างๆ ที่รากหาได้เพื่อลำเลียงไปยัง ลำต้น ใบ ดอกและผล ไม่มีน้ำ (ความชื้น)ก็ไม่มีชีวิต
.
ใส่อาหารเข้าไป แต่ไม่ใส่น้ำ ไม่มีน้ำก็ไร้ค่า สูญเปล่า
.
ฉนั้น ความชื้นในดิน ต้องมีอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้กระบวนการส่งอาหาร ขึ้นไปสังเคราะห์แสงเป็นไปอย่างสมบูรณ์...นั่นคือสิ่งที่จะต้องวัด เป็นลำดับที่ 3 สำหรับการปลูกพืช
.
⏹แสงสว่าง คือ ลำดับที่ 4 สำหรับการปลูกพืช โดยเฉพาะ การปลูกแบบผสมผสาน ทำไม่ปลูกมาตั้งนาน ไม่ออกลูก ออกผลสักที
.
คำถามนี้ ต้องดูด้วยว่า มันอยู่ใต้ร่มไม้ใหญ่หรือปล่าว
ปริมาณแสงต่อวันได้รับ อย่างเพียงพอหรือไม่ ถ้าคือว่า ดินดี อาหารพร้อม น้ำเพียบ...ก็อย่ที่ปริมาณแสงต่อวันแล้ว ต้องกลับไปหาข้อมูลว่า พืชหรือต้นไม่้นั้นๆ ต้องการแสงขนาดไหน เท่าไร ต่อวัน ถ้ามันได้น้อยกว่าที่ต้องการ มันก็คงไม่ติดดอก ออกผล ก็จะได้แต่ใบของพืชนั้นๆ แทน
.
⏹ส่วนเรื่องโรค ถ้าพืชแข็งแรงเพราะเราดูแลดี เขาจะมีภูมิคุ้นกันในระดับหนึ่ง แต่ก็ให้เน้นไปที่การป้องกัน ซึ่งถือว่า ราคาถูกที่สุดเมื่อเทียบกับการซื้อยามานั่งรักษา
.
⏹คุมเชื้อราให้อยู่(ไตรโคเดอมา่)ฆ่าใข่ฆ่าหนอนในดิน(บิวเวอร์เรียและเมทาไรเซี่ยม) ยังมีพวก BT อีก ก็หามาใส่ๆ ฉีดพ่น ในสวนเป็นประจำ อย่าให้ขาด เรียกว่าทำต่าวรางกันล่วงหน่าไว้เลย
.
ถ้าทำได้ครบขนาดนี้ (เรื่องมันง่ายๆนะ) ยังไงมันก็โต เพราะมันครอบคลุม ปัจจัยทั้งหมดแล้ว
.
⏹โปรแทสเซื่ยมฮิวเมส..ตือตัวปลดปล่อยธาตอาหารในดิน ตรงนี้คือเหตุผลหลักในการนำมาใช้กัีบพืชผล ทุกชนิด แต่ยังมีคุณสมบัติอีกนับร้อย ที่สำคุณทางการเกษตร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น